concept of law pt2 - suan sunandha rajabhat university · (rudolf von jhering) •...

Post on 04-Mar-2020

0 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

มโนทัศน์ว่าด้วย "กฎหมาย"ตอนที่ 2

Kritz Wongvisedethorn

ทบทวนครั้งที่แล้ว• สำนักกฎหมายธรรมชาติ

• กฎหมาย = กฎเกณฑ์ที่ดำรงอยู่ในธรรมชาติ เป็นเรื่องของเหตุผล สม่ำเสมอ และเป็นนิรันดร์

• สิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาค

• จุดอ่อน?

Kritz Wongvisedethorn

สำนักประวัติศาสตร์กฎหมาย• Savigny (ซาวินญี่)

• จิตวิญญาณประชาชาติ (volksgeit)

• กฎหมายเหมือนภาษา - เติบโตอย่างไร้สำนึก

• จารีตประเพณี = กฎหมายที่แท้จริง

• จุดอ่อน?

Kritz Wongvisedethorn

Legal PositivismKritz Wongvisedethorn

Legal Positivism• ปฏิฐานิยมกฎหมาย - สำนักกฎหมายบ้านเมือง

• Positivism : Positum

• มีแนวคิดแบบวิทยาศาสตร์เชิงประจักษ์ ต่อต้านสิ่งที่มองไม่เห็น

• No necessary connection between law and morals.

• Jeremy Bentham & John Austin: the origin of law in the command of a sovereign.

Kritz Wongvisedethorn

Hans Kelsen

• "Pure Theory of Law"

• Disinfect the law of the impurities of morality, psychology, sociology, and political theory. 

• If conduct (X) is performed, then a sanction (Y) should be applied by an official to the offender. 

• ห่วงโซ่และลำดับชั้นของกฎหมาย

Kritz Wongvisedethorn

Kritz Wongvisedethorn

Kritz Wongvisedethorn

Sociology of Law• สังคมวิทยากฎหมาย

• กฎหมาย + สังคมวิทยา

• สังคมวิทยากฎหมายเป็นแนวคิดคิดที่ค่อยๆก่อตัวขึ้นอย่างชัดเจนในปลายศตวรรษที่ 19 ถึงต้นศตวรรษที่20

• ผู้ที่มีแนวคิดในการศึกษากฎหมายควบคู่กับการศึกษาสังคมคนแรกๆที่มีชื่อเสียงคือ มองเตสกิเออร์ (Montesquieu)

Kritz Wongvisedethorn

Sociology of Law• “กฎหมายทั้งหลายในลักษณะที่สำคัญที่ทั่วไปคือความสัมพันธ์ที่จำเป็นจะต้องเป็นเช่นนั้นอันเกิดจากเหตุผลของเรื่อง เพราะฉะนั้นมนุษย์ก็มีกฎหมายของมนุษย์ พระเจ้าก็มีกฎหมายของพระเจ้า สัตว์ก็มีกฎหมายของสัตว์

• “จิตวิญญาณของกฎหมาย หรือความสัมพันธ์ซึ่งมักจะปรากฏตัวขึ้นระหว่างบรรดากฎหมายและรัฐธรรมนูญของทุกๆรัฐบาล, จารีต,สภาวะอากาศ, ประชากร, ศาสนา, การค้าฯล

Kritz Wongvisedethorn

Sociology of Law

• Roscoe Pound แห่งมหาวิทยาลัย Harvard ซึ่งเขาเสนอว่า กฎหมายนั้นเป็นวิศวกรรมของสังคม (Social Engineering) สังคมมนุษย์นั้นเมื่อมีความรู้ในด้านกฎหมายและในด้านอื่นๆ ก็สามารถปรุงแต่งสังคมได้โดยความพยายามที่จะใช้ความรู้ที่มีอยู่มาทำให้เป็นประโยชน์และแก้ไขสังคมให้เป็นสังคมที่ดีขึ้น สังคมที่ดีและน่าอยู่คือสังคมที่มีความกลมกลืน (harmony)

Kritz Wongvisedethorn

รูดอล์ฟ ฟอน เยียริ่ง (Rudolf von Jhering)

• ได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งสังคมวิทยากฎหมาย

• แบ่งผลประโยชน์ออกเป็น 3 ประเภทคือ ผลประโยชน์ของปัจเจกชน, ผลประโยชน์ของรัฐ และผลประโยชน์ของสังคม เป้าประสงค์เพื่อให้ผลประโยชน์ทั้งสามกลมกลืนกัน

• หลักการคัดง้างตัวของสังคม

• Law is a mean to the end

Kritz Wongvisedethorn

รอสโค่ พาวด์(Roscoe Pound)

• สังคมมีความขัดแย้งเรื่องผลประโยชน์ ดังนั้นจึงเป็นหน้าที่ของกฎหมายที่ปรับผลประโยชน์ที่ขัดกันในสังคมเหล่านั้นให้สมดุลจนอยู่ด้วยกันได้ด้วยดี กฎหมายเหมือนเครื่องจักรและนักกฎหมายเองคือวิศวกรสังคม (Social Engineer)

• ทฤษฎีเรื่องผลประโยชน์(Doctrine of Interest)

Kritz Wongvisedethorn

เล-อง ดูกีว์ (Léon Duguit)

• ความสมานฉันท์ของสังคม”(Social Solidarity)

• กฎหมายที่ดีต้องเป็นไปเพื่อ Social Solidarity

• กระบวนการนิติบัญญัติไม่ใช่จุดเริ่มต้นของกฎหมาย เป็นแต่เพียงการรับรองปรากฏการณ์ของกฎหมายที่มีอยู่แล้ว

Kritz Wongvisedethorn

สรุปแล้วกฎหมายคืออะไร?

Kritz Wongvisedethorn

top related